“ชื่อที่ตั้งให้ผู้หญิงก็ควรเป็นชื่อที่แสดงออกถึงความเป็นผู้หญิง ไม่ควรใช้ชื่อลักษณะเป็นชาย ส่วนผู้ชายก็ควรมีชื่อที่ตรงกับเพศสภาพ การแสดงต่าง ๆ ก็ควรใช้นักแสดงที่ตรงกับเพศกำเนิดมาเล่นเป็นตัวพระตัวนาง ไม่ควรใช้ผู้ชายเล่นเป็นตัวนาง หรือผู้หญิงเล่นเป็นตัวพระก็ไม่ได้ มันจึงเป็นการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ทำให้คนข้ามเพศที่เคยมีบทบาทในพื้นที่การแสดง ก็ต้องปรับเปลี่ยนไปทำงานอย่างอื่น หากอยู่ในท้องถิ่นชนบทก็ยังพอแสดงได้ แต่ก็อยู่แบบตามมีตามเกิดเพราะรัฐไม่ได้สนับสนุน”
คนแต่งงานกันตามกฎหมายเดิม จะได้รับสถานะทางกฎหมายที่มีความเชื่อมโยงกันเหมือนญาติ ดังนั้นการแต่งงานของกลุ่มหลากหลายทางเพศ ที่เดิมทีไม่มีกฎหมายรองรับ แม้จะอยู่ด้วยกันมาอย่างยาวนาน แต่หลายครั้งกลับไม่สามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ อาทิ การดูแลตัดสินใจเรื่องทางการแพทย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเบิกรักษาพยาบาล การตัดสินใจสำคัญทางการแพทย์ในกรณีที่คน ๆ นั้นไม่สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ หรือกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต อีกฝ่ายก็จะมีสิทธิในการจัดการศพได้ด้วยนั่นเอง
อีกทั้งยังสอดคล้องกับเป้าหมายแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด้วย ส่วนสิทธิอื่น ๆ ที่อาจจะยังไม่มีเท่ากับการจดทะเบียนคู่สมรสชาย-หญิง เมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว ก็จะมีการประเมินผลเพื่อพัฒนาให้มีความเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ต่อไป รวมถึงการปรับปรุงกฎหมายฉบับอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย
ในการอภิปรายร่าง พ.ร.บ. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) ได้อภิปรายกันอย่างกว้างขวางถึงความจำเป็นในการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการสมรส เช่น สิทธิในการจัดการทรัพย์สินของคู่รักผู้มีความหลากหลายทางเพศ สวัสดิการสำหรับคู่สมรส สิทธิการตัดสินใจในการรักษาพยาบาล เป็นต้น
ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (สมรสเท่าเทียม) และ พ.ร.บ.คู่ชีวิต ตลอดการแก้ไข ออกมาเป็นร่างฉบับกมธ. ชวนมาดูว่า กมธ.พิจารณารับสิทธิใด และสิทธิใดขาดไปบ้าง
เมื่อ ‘สมรสเท่าเทียม’ กำลังจะมา ประเทศไทยพร้อมหรือไม่ ที่จะ ‘เข้าใจ’ และ ‘เปลี่ยนแปลง’?
ส.ส.ผู้เสนอแก้กฎหมาย แจงทำไมต้องแก้ "สามีภรรยา" เป็น "คู่สมรส"
This is one of the four main cookies established via the Google Analytics assistance which permits Web page house owners to trace visitor behaviour and measure web page general performance. It's not necessarily Employed in most web pages but is set to enable interoperability with the more mature Variation of Google Analytics code often known as Urchin.
งานศึกษาเรื่อง “ความหลากหลายทางเพศในมิติประวัติศาสตร์สังคมมนุษย์” ของคณาจารย์ด้านสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฎเลย สะท้อนให้เห็นว่า ผู้คนรับรู้ถึงการมีอยู่ของผู้มีความหลากหลายทางเพศตั้งแต่ยุคโบราณ โดยพบว่าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีบันทึกเกี่ยวกับกะเทยในอาณาจักรเจนละที่ดูมีเสรีภาพในที่สาธารณะ
This cookie is ready by Google Analytics. In keeping with their documentation it's accustomed to จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม throttle the request charge for that assistance - restricting the gathering of knowledge on significant targeted visitors sites. It expires after 10 minutes
เดิมเรื่องเหตุเรียกค่าทดแทนและเหตุหย่า กฎหมายกำหนดเฉพาะกรณีที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกับคู่หมั้นหรือคู่สมรสของตน ในลักษณะจำกัดกรอบว่าเกิดจากกิจกรรมทางเพศที่เรียกว่า ‘การร่วมประเวณี’ หรือความสัมพันธ์ ‘ทำนองชู้สาว’ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการครอบคลุม จึงขยายถ้อยคำไปให้รวมถึงกิจกรรมทางเพศที่ไม่จำกัดเฉพาะแต่เรื่องการร่วมประเวณี ที่อาจถูกตีความว่าเป็นการร่วมเพศกันระหว่างชายและหญิงกันโดยมีการสอดใส่เท่านั้น หากแต่เพิ่มเติมถ้อยคำเพื่อให้รวมถึงกิจกรรมทางเพศที่มุ่งสนองความใคร่ไม่ว่ากระทำกับบุคคลเพศใดด้วย และคำที่ใช้ว่า ‘ทำนองชู้สาว’ ก็ตัดคำว่า ‘สาว’ ออก เป็นคำว่า ‘ทำนองชู้’ เพื่อตัดประเด็นคู่ความสัมพันธ์ในทางเพศ
คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย
เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นมิตรกับผู้มีความหลากหลายทางเพศ มากกว่าชาติอื่นในเอเชีย ?
ทั้งคู่มองว่าการที่นายทะเบียนไม่สามารถจดทะเบียนสมรสให้กับตนและคู่รักเป็นการละเมิดสิทธิ์ จึงมีการร้องเรียนไปยังสภาผู้แทนราษฎร รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยมี ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอยู่ในขณะนั้น จึงตั้งคณะทำงานขึ้นเพื่อทำการศึกษาข้อกฎหมายว่าการแต่งงานของคู่รักเพศเดียวกันขัดต่อกฎหมายหรือไม่ แต่ด้วย ณ เวลานั้น มีแรงต้านจากผู้ไม่สนับสนุนที่มองว่าคู่รักเพศเดียวกันไม่สามารถ “สมรส” กันได้ รัฐบาลจึงเสนอร่างกฎหมาย “คู่ชีวิต” แยกออกจากกฎหมายสมรสที่มีอยู่เดิมโดยอ้างว่าป้องกันความไม่เห็นด้วยของผู้ไม่สนับสนุน
Comments on “Fascination About จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม”